Products

ชุดทดลองวงจรไฟฟ้า-วงจรอิเล็กทรอนิกส์

e+etCircuit

1. เป็นชุดทดลองปฏิบัติการวงจรไฟฟ้าที่สร้างขึ้นสำหรับการศึกษาโดยเฉพาะ
2. ชุดทดลองได้รับการออกแบบให้สามารถสนับสนุนการเรียนการสอนในรายวิชาทางด้านวงจรไฟฟ้าและวงจรอิเล็กทรอนิกส์ในส่วนภาคปฏิบัติที่สอดคล้องกับหลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าตามคุณลักษณะของห้องปฏิบัติการ
3. ชุดทดลองสามารถให้นักศึกษาทำการต่อประกอบวงจรการทดลองต่างๆในภาคปฏิบัติ และสามารถเสริมความเข้าใจในภาคทฤษฎีที่ได้ศึกษามาแล้ว
4. ชุดตัวอุปกรณ์ประกอบการทดลองได้รับการออกแบบเพื่อกำหนดค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสมซึ่งสามารถทำให้ผู้ทดลองเข้าใจเนื้อหาและหลักการที่สัมพันธ์กันทั้งทางด้านภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ
5. มีชุดตัวอย่างไฟล์วงจรการทดลองที่ใช้งานร่วมกับโปรแกรมจำลองทางไฟฟ้า Proteus (Version DEMO)

สามารถทำการทดลองในหัวข้อต่างๆ ดังนี้

การทดลองวงจรไฟฟ้ากระแสตรง
ใบงานที่ 1 กฎของโอห์ม
1.1 การแปรผันของแรงดันไฟฟ้า
1.2 การแปรผันของกระแสไฟฟ้า
1.3 การแปรผันของค่าความต้านทาน
1.4 การแปรผันของกำลังไฟฟ้า
ใบงานที่ 2 การต่อตัวต้านทานใน วงจรอนุกรม วงจรขนาน วงจรผสม
2.1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม
2.2 การต่อตัวต้านทานแบบขนาน
2.3 การต่อตัวต้านทานแบบผสม
2.4 การแปลงค่าความต้านทานที่ต่อแบบเดลตาให้เป็นแบบวาย
ใบงานที่ 3 กฎของเคอร์ชอฟฟ์
3.1 กฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์
3.2 กฎแรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์
ใบงานที่ 4 วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้า วงจรแบ่งกระแสไฟฟ้า และวงจรวีตสโตนบริดจ์
4.1 วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้า
4.2 วงจรแบ่งกระแสไฟฟ้า
4.3 วงจรวีตสโตนบริดจ์
ใบงานที่ 5 คุณสมบัติของ วงจรอนุกรม วงจรขนาน วงจรผสม
5.1 วงจรอนุกรม
5.2 วงจรขนาน
5.3 วงจรผสมแบบ ขนาน-อนุกรม
5.4 วงจรผสมแบบ อนุกรม-ขนาน
ใบงานที่ 6 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าด้วยวิธีการของเมชเคอเรนท์ หรือ ลูปเคอเรนท์
6.1 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าด้วยวิธีเมชเคอร์เรนท์ หรือ ลูปเคอร์เรนท์
ใบงานที่ 7 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าด้วยวิธีแรงดันโนด
7.1 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าด้วยวิธีแรงดันโนด
ใบงานที่ 8 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าด้วยวิธีการวางซ้อน
8.1 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าด้วยวิธีการวางซ้อน
ใบงานที่ 9 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าด้วยทฤษฎีเทวินินและนอร์ตัน
9.1 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าด้วยทฤษฎีเทวินิน
9.2 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าด้วยทฤษฎีนอร์ตัน
ใบงานที่ 10 การถ่ายโอนกำลังไฟฟ้าสูงสุด
10.1 การถ่ายโอนกำลังสูงสุดจากวงจรเทียบเคียงเทวินิน
10.2 การถ่ายโอนกำลังไฟฟ้าสูงสุดของวงจรไฟฟ้าทั่วไป
ใบงานที่ 11 การกระจายตัวของกำลังไฟฟ้า
11.1 การกระจายตัวของกำลังไฟฟ้า
11.2 ต่อภาระเป็นวงจรอนุกรม
11.3 ต่อภาระเป็นวงจรขนาน
11.4 ต่อภาระเป็นวงจรผสมแบบ อนุกรม-ขนาน
11.5 การกระจายตัวของกำลังไฟฟ้าในกรณีที่มีแหล่งจ่ายกำลังไฟฟ้ามากกว่าหนึ่งแหล่งจ่าย
ใบงานที่ 12 ตัวเหนี่ยวนำไฟฟ้าและการทดสอบ
12.1 การทดสอบหาค่าความเหนี่ยวนำของตัวเหนี่ยวนำ
ใบงานที่ 13 ตัวเก็บประจุไฟฟ้าและการทดสอบ
13.1 การทดสอบหาค่าความจุของตัวเก็บประจุไฟฟ้า
ใบงานที่ 14 ผลตอบสนองชั่วครู่ของวงจรอันดับหนึ่ง
14.1 วงจร RL
14.2 วงจร RC
ใบงานที่ 15 ผลตอบสนองชั่วครู่ของวงจรอันดับสอง
15.1 ผลตอบชั่วครู่ของวงจรอันดับสอง ที่มีผลตอบสนองแบบหน่วงขาด
15.2 ผลตอบชั่วครู่ของวงจรอันดับสอง ที่มีผลตอบสนองแบบวิกฤต
15.3 ผลตอบชั่วครู่ของวงจรอันดับสอง ที่มีผลตอบสนองแบบหน่วงเกิน
15.4 ผลตอบชั่วครู่ของวงจรอันดับสอง ที่มีผลตอบสนองแบบออสซิลเลต
การทดลองวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
ใบงานที่ 1 คุณลักษณะของไฟฟ้ากระแสสลับ
1.1 ค่าชั่วขณะใด ๆ ของรูปคลื่นไซน์
1.2 ค่าเฉลี่ยและค่าประสิทธิผลของรูปคลื่นสี่เหลี่ยม
1.3 ค่าเฉลี่ยและค่าประสิทธิผลของรูปคลื่นไซน์
1.4 กำลังไฟฟ้าเทียบเท่า
ใบงานที่ 2 ภาระหรือโหลดในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
2.1 คุณสมบัติของความต้านทานในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
2.2 คุณสมบัติของเหนี่ยวนำในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
2.3 คุณสมบัติของตัวเก็บประจุไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
ใบงานที่ 3 วงจรการต่อ R-L-C แบบอนุกรม
3.1 R-L อนุกรม
3.2 R-C อนุกรม
3.3 R-LC อนุกรม ในกรณีที่ XL มีค่ามากกว่า XC
3.4 R-LC อนุกรม ในกรณีที่ XL มีค่าน้อยกว่า XC
ใบงานที่ 4 วงจรการต่อ R-L-C แบบขนาน
4.1 R-L ขนาน
4.2 R-C ขนาน
4.3 R-LC ขนาน ในกรณีที่ BC มีค่ามากกว่า BL
4.4 R-LC ขนาน ในกรณีที่ BC มีค่าน้อยกว่า BL
ใบงานที่ 5 วงจรการต่อ R-L-C แบบผสม
5.1 วงจรการต่อ R-LC ผสมแบบการต่อขนานก่อนอนุกรม
5.2 วงจรการต่อ R-LC ผสมแบบการต่ออนุกรมก่อนขนาน
ใบงานที่ 6 วงจรรีโซแนนซ์แบบอนุกรม
6.1 วงจรรีโซแนนซ์แบบอนุกรม
ใบงานที่ 7 วงจรรีโซแนนซ์แบบขนาน
7.1 วงจรรีโซแนนซ์แบบขนาน
ใบงานที่ 8 กำลังไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
8.1 กำลังไฟฟ้าในวงจรการต่อตัวต้านทานและตัวเหนี่ยวนำ
8.2 กำลังไฟฟ้าในวงจรการต่อตัวต้านทานและตัวเก็บประจุไฟฟ้า
8.3 กำลังไฟฟ้าในวงจรการต่อตัวต้านทาน, ตัวเหนี่ยวนำ และ ตัวเก็บประจุไฟฟ้า
8.4 การกระจายของกำลังไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
ใบงานที่ 9 การแก้ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
9.1 การแก้ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ในระบบไฟฟ้ากระแสสลับ
ใบงานที่ 10 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสสลับด้วยวิธีการของเมชเคอร์เร็นท์
10.1 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสสลับด้วยวิธีการของเมชเคอร์เร็นท์
ใบงานที่ 11 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสสลับด้วยวิธีการของโนดโวลต์เตจ
11.1 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสสลับด้วยวิธีการของโนดโวลต์เตจ
ใบงานที่ 12 แหล่งจ่ายกำลังไฟฟ้าสามเฟส
12.1 คุณสมบัติของรูปคลื่นและลำดับเฟส
12.2 การบอกลำดับเฟส
12.3 คุณสมบัติของแรงดันไฟฟ้าของแหล่งจ่ายกำลังไฟฟ้าสามเฟส
ใบงานที่ 13 การต่อภาระแบบวายในระบบไฟฟ้าสามเฟส
13.1 การต่อภาระสมดุลแบบวายเข้ากับของแหล่งจ่ายกำลังไฟฟ้าสามเฟส
13.2 การต่อภาระไม่สมดุลแบบวายเข้ากับของแหล่งจ่ายกำลังไฟฟ้าสามเฟส
ใบงานที่ 14 การต่อภาระแบบเดลต้าในระบบไฟฟ้าสามเฟส
14.1 การต่อภาระสมดุลแบบเดลต้าเข้ากับของแหล่งจ่ายกำลังไฟฟ้าสามเฟส
14.2 การต่อภาระไม่สมดุลแบบเดลคต้าเข้ากับของแหล่งจ่ายกำลังไฟฟ้าสามเฟส
ใบงานที่ 15 กำลังไฟฟ้าในระบบไฟฟ้าสามเฟส
15.1 กำลังไฟฟ้าในระบบไฟฟ้าสามเฟสเมื่อต่อภาระสมดุลแบบวาย
15.2กำลังไฟฟ้าในระบบไฟฟ้าสามเฟสเมื่อต่อภาระไม่สมดุลแบบวาย
การทดลองวงจรอิเล็กทรอนิกส์
ใบงานที่ 1 ไดโอดและคุณลักษณะของกระแสไฟฟ้าและแรงดันไฟฟ้า
1.1 คุณสมบัติของกระแสและแรงดันของไดโอด
ใบงานที่ 2 วงจรเรียงกระแสแบบครึ่งคลื่นและแบบเต็มคลื่น
2.1 วงจรเรียงกระแสครึ่งคลื่น
2.2 วงจรเรียงกระแสเต็มคลื่นโดยใช้หม้อแปลงแทปกลาง
2.3  วงจรเรียงกระแสเต็มคลื่นโดยใช้บริดจ์
ใบงานที่ 3 แหล่งจ่ายกำลังไฟฟ้ากระแสตรง
3.1  วงจรเรียงกระแสครึ่งคลื่น
3.2  วงจรเรียงกระแสเต็มคลื่นโดยใช้หม้อแปลงแทปกลาง
3.3 วงจรเรียงกระแสเต็มคลื่นโดยใช้บริดจ์
ใบงานที่ 4 วงจรทวีแรงดัน
4.1 วงจรทวีแรงดันแบบครึ่งคลื่น
4.2 วงจรทวีแรงดันแบบเต็มคลื่น
ใบงานที่ 5 วงจรคลิปเปอร์โดยใช้ไดโอด
5.1 วงจรคลิปเปอร์แบบอนุกรม
5.2 วงจรคลิปเปอร์แบบขนาน
ใบงานที่ 6 วงจรแคลมเปอร์โดยใช้ไดโอด
6.1 วงจรแคลมเปอร์แบบบวก
6.2 วงจรแคลมเปอร์แบบลบ
ใบงานที่ 7 คุณสมบัติกระแสและแรงดันของซีเนอร์ไดโอด
7.1  คุณลักษณะของแรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านซีเนอร์ไดโอด
7.2  ทดสอบหากราฟแสดงคุณลักษณะทางไฟฟ้าของซีเนอร์ไดโอด
ใบงานที่ 8 ทรานซิสเตอร์สองรอยต่อ
8.1  เคอร์ฟคุณลักษณะของทรานซิสเตอร์ชนิด NPN
8.2  เคอร์ฟคุณลักษณะของทรานซิสเตอร์ชนิด PNP
ใบงานที่ 9 การไบอัสทรานซิสเตอร์
9.1  อัตราขยายกระแสไฟฟ้าของทรานซิสเตอร์
9.2  วงจรไบอัสคงที่ (Fix Bias)
9.3  วงจรอีมิเตอร์ไบอัส (Emitter Bias)
9.4  วงจรคอลเล็คเตอร์ไบอัส (Collector Bias or Self Bias)
9.5  วงจรไบอัสที่มีการป้อนกลับแรงดันไฟฟ้า (Voltage Feedback Bias)
ใบงานที่ 10 วงจรขยายด้วยทรานซิสเตอร์
10.1 วงจรขยายด้วยทรานซิสเตอร์ Class A
10.2 วงจรขยายด้วยทรานซิสเตอร์ Class B
10.3 วงจรขยายด้วยทรานซิสเตอร์ Class AB
10.4 วงจรขยายด้วยทรานซิสเตอร์ Class C
ใบงานที่ 11 ทรานซิสเตอร์ทำงานเป็นสวิตช์
11.1 ทรานซิสเตอร์ BJT ชนิด NPN ทำงานเป็นสวิตช์
11.2 ทรานซิสเตอร์ BJT ชนิด PNP ทำงานเป็นสวิตช์
11.3 ทรานซิสเตอร์ E-MOSFET ชนิด N Channel ทำงานเป็นสวิตช์
11.4 ทรานซิสเตอร์ E-MOSFET ชนิด P Channel ทำงานเป็นสวิตช์
11.5 วงจรแสดงแรงดันเกินและต่ำกว่าค่าที่กำหนด
ใบงานที่ 12 SCR ในวงจรไฟฟ้ากระแสตรง
12.1 การทดสอบหากระแสไฟฟ้าที่ป้อนให้กับขาเกตและทำให้ SCR นำกระแสไฟฟ้า
12.2 การทดสอบหากระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน SCR และทำให้เกิดสภาวะทำงานคงค้าง
12.3 การทดสอบหากระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน SCR และทำให้ SCR หยุดการทำงาน
12.4 การทำให้ SCR หยุดการนำกระแสไฟฟ้า
ใบงานที่ 13 SCR ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
13.1 การทดลองเพื่อแสดงเคอร์ฟคุณลักษณะการทำงานของ SCR
ใบงานที่ 14 คุณสมบัติและการใช้งาน Triac
14.1 ไตรแอคทำงานในวงจรไฟฟ้ากระแสตรง
14.2 ไตรแอคทำงานในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
ใบงานที่ 15 ออป-แอมป์และการต่อวงจรใช้งาน
15.1 วงจรเปรียบเทียบแรงดันไฟฟ้า
15.2 วงจรขยายสัญญาณ
   15.2.1 วงจรขยายแบบกลับเฟส
   15.2.2 วงจรขยายแบบไม่กลับเฟส
   15.2.3 วงจรขยายแรงดันตาม (Voltage follower Amplifier)
15.3 วงจรขยายในงานเครื่องมือวัด (Instrument Amplifier)
15.4 การจำกัดค่าแรงดันขาออกของออปแอมป์ (Op-Amp Output Voltage Limiter)
15.5 วงจรกำเนิดความถี่แบบเวียนบริดจ์ (Wien Bridge Oscillator)
ใบงานที่ 16 ออป-แอมป์และการอุปมานทางคณิตศาสตร์เชิงพิชคณิต
16.1 วงจรอุปมานเชิงพีชคณิต
   16.1.1 การบวกแบบกลับเฟส
   16.1.2 การบวกแบบไม่กลับเฟส
   16.1.3 การลบหรือหาค่าผลต่าง
16.2 วงจรเลียนแบบสมการพีชคณิต
ใบงานที่ 17 ออป-แอมป์และการอุปมานทางคณิตศาสตร์เชิงแคลคูลัส
17.1 วงจรอินทิเกรเตอร์
17.2 วงจรดิฟเฟอเรนทิเอเตอร์
ใบงานที่ 18 การใช้งาน  IC เบอร์ 555
18.1 วงจรอะสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์
18.2 วงจรโมโนสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์
18.3 วงจรตั้งเวลา
ใบงานที่ 19 การประยุกต์ใช้งาน  IC เบอร์ LM311 และ IC เบอร์ 555
19.1 วงจรป้องกันแรงดันไฟฟ้าตกคร่อมภาระเกินกำหนด (Over Voltage Protection)
19.2 วงจรป้องกันกระแสไฟฟ้าไหลภาระเกิดกำหนด (Over Current Protection)
19.3 วงจร เปิดปิด ไฟอัตโนมัติ (Automatic Lightening On-Off Control )
19.4 วงจรแจ้งเตือนอุณหภูมิสูงเกิน (Over Temperature Alarming)
19.5 การประยุกต์ไอซีเบอร์ NE555 กำเนิดความถี่รูปคลื่นสี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม และไซน์ (Square/Triangle/Sine wave Generator with IC NE555)
19.6 การประยุกต์ไอซีเบอร์ NE555 กำเนิดความถี่รูปคลื่นฟันเลื่อย (Saw tooth wave Generator with IC NE555)
ใบงานที่ 20 การวัดค่าความต้านทานแบบเชิงเส้น
20.1 การวัดค่าความต้านทานแบบเชิงเส้นที่ย่านวัด 0 จนถึง 1k ohm
20.2 การวัดค่าความต้านทานแบบเชิงเส้นที่ย่านวัด 0 จนถึง 10k ohm

Please Login To Download Attachment

Reviews

There are no reviews yet.

Be the first to review “ชุดทดลองวงจรไฟฟ้า-วงจรอิเล็กทรอนิกส์”

Your email address will not be published. Required fields are marked *