Products

ชุดทดลองวงจรไฟฟ้า(กระแสตรง และ กระแสสลับ)

eCircuit

1. เป็นชุดทดลองปฏิบัติการวงจรไฟฟ้าที่สร้างขึ้นสำหรับการศึกษาโดยเฉพาะ
2. ชุดทดลองได้รับการออกแบบให้สามารถสนับสนุนการเรียนการสอนในรายวิชาทางด้านวงจรไฟฟ้าในส่วนภาคปฏิบัติที่สอดคล้องกับหลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าตามคุณลักษณะของห้องปฏิบัติการวงจรไฟฟ้า
3. ชุดทดลองสามารถให้นักศึกษาทำการต่อประกอบวงจรการทดลองต่างๆในภาคปฏิบัติ และสามารถเสริมความเข้าใจในภาคทฤษฎีที่ได้ศึกษามาแล้ว
4. ชุดตัวอุปกรณ์ประกอบการทดลองได้รับการออกแบบเพื่อกำหนดค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสมซึ่งสามารถทำให้ผู้ทดลองเข้าใจเนื้อหาและหลักการที่สัมพันธ์กันทั้งทางด้านภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ
5. มีชุดตัวอย่างไฟล์วงจรการทดลองที่ใช้งานร่วมกับโปรแกรมจำลองทางไฟฟ้า Proteus (Version DEMO)

สามารถทำการทดลองในหัวข้อต่างๆ ดังนี้

การทดลองวงจรไฟฟ้ากระแสตรง
ใบงานที่ 1 กฎของโอห์ม
1.1 การแปรผันของแรงดันไฟฟ้า
1.2 การแปรผันของกระแสไฟฟ้า
1.3 การแปรผันของค่าความต้านทาน
1.4 การแปรผันของกำลังไฟฟ้า
ใบงานที่ 2 การต่อตัวต้านทานใน วงจรอนุกรม วงจรขนาน วงจรผสม
2.1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม
2.2 การต่อตัวต้านทานแบบขนาน
2.3 การต่อตัวต้านทานแบบผสม
2.4 การแปลงค่าความต้านทานที่ต่อแบบเดลต้าให้เป็นแบบวาย
ใบงานที่ 3 กฎของเคอร์ชอฟฟ์
3.1 กฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์
3.2 กฎแรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์
ใบงานที่ 4 วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้า วงจรแบ่งกระแสไฟฟ้า และวงจรวีตสโตนบริดจ์
4.1 วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้า
4.2 วงจรแบ่งกระแสไฟฟ้า
4.3 วงจรวีตสโตนบริดจ์
ใบงานที่ 5 คุณสมบัติของ วงจรอนุกรม วงจรขนาน วงจรผสม
5.1 วงจรอนุกรม
5.2 วงจรขนาน
5.3 วงจรผสมแบบ ขนาน-อนุกรม
5.4 วงจรผสมแบบ อนุกรม-ขนาน
ใบงานที่ 6 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าด้วยวิธีการของเมชเคอเรนท์ หรือ ลูปเคอเรนท์
6.1 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าด้วยวิธีเมชเคอร์เรนท์ หรือ ลูปเคอร์เรนท์
ใบงานที่ 7 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าด้วยวิธีแรงดันโนด
7.1 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าด้วยวิธีแรงดันโนด
ใบงานที่ 8 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าด้วยวิธีการวางซ้อน
 8.1 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าด้วยวิธีการวางซ้อน
ใบงานที่ 9 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าด้วยทฤษฎีเทวินินและนอร์ตัน
9.1 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าด้วยทฤษฎีเทวินิน
9.2 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าด้วยทฤษฎีนอร์ตัน
ใบงานที่ 10 การถ่ายโอนกำลังไฟฟ้าสูงสุด
10.1 การถ่ายโอนกำลังสูงสุดจากวงจรเทียบเคียงเทวินิน
10.2 การถ่ายโอนกำลังไฟฟ้าสูงสุดของวงจรไฟฟ้าทั่วไป
ใบงานที่ 11 การกระจายตัวของกำลังไฟฟ้า
11.1 การกระจายตัวของกำลังไฟฟ้า
11.2 ต่อภาระเป็นวงจรอนุกรม
11.3 ต่อภาระเป็นวงจรขนาน
11.4 ต่อภาระเป็นวงจรผสมแบบ อนุกรม-ขนาน
11.5 การกระจายตัวของกำลังไฟฟ้าในกรณีที่มีแหล่งจ่ายกำลังไฟฟ้ามากกว่าหนึ่งแหล่งจ่าย
ใบงานที่ 12 ตัวเหนี่ยวนำไฟฟ้าและการทดสอบ
12.1 การทดสอบหาค่าความเหนี่ยวนำของตัวเหนี่ยวนำ
ใบงานที่ 13 ตัวเก็บประจุไฟฟ้าและการทดสอบ
13.1 การทดสอบหาค่าความจุของตัวเก็บประจุไฟฟ้า
ใบงานที่ 14 ผลตอบสนองชั่วครู่ของวงจรอันดับหนึ่ง
14.1 วงจร RL
14.2 วงจร RC
ใบงานที่ 15 ผลตอบสนองชั่วครู่ของวงจรอันดับสอง
15.1 ผลตอบชั่วครู่ของวงจรอันดับสอง ที่มีผลตอบสนองแบบหน่วงขาด
15.2 ผลตอบชั่วครู่ของวงจรอันดับสอง ที่มีผลตอบสนองแบบวิกฤต
15.3 ผลตอบชั่วครู่ของวงจรอันดับสอง ที่มีผลตอบสนองแบบหน่วงเกิน
15.4 ผลตอบชั่วครู่ของวงจรอันดับสอง ที่มีผลตอบสนองแบบออสซิลเลต
การทดลองวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
ใบงานที่ 1 คุณลักษณะของไฟฟ้ากระแสสลับ
1.1 ค่าชั่วขณะใด ๆ ของรูปคลื่นไซน์
1.2 ค่าเฉลี่ยและค่าประสิทธิผลของรูปคลื่นสี่เหลี่ยม
1.3 ค่าเฉลี่ยและค่าประสิทธิผลของรูปคลื่นไซน์
1.4 กำลังไฟฟ้าเทียบเท่า
ใบงานที่ 2 ภาระหรือโหลดในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
2.1 คุณสมบัติของความต้านทานในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
2.2 คุณสมบัติของเหนี่ยวนำในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
2.3 คุณสมบัติของตัวเก็บประจุไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
ใบงานที่ 3 วงจรการต่อ R-L-C แบบอนุกรม
3.1 R-L อนุกรม
3.2 R-C อนุกรม
3.3 R-LC อนุกรม ในกรณีที่ XL มีค่ามากกว่า XC
3.4 R-LC อนุกรม ในกรณีที่ XL มีค่าน้อยกว่า XC
ใบงานที่ 4 วงจรการต่อ R-L-C แบบขนาน
4.1 R-L ขนาน
4.2 R-C ขนาน
4.3 R-LC ขนาน ในกรณีที่ BC มีค่ามากกว่า BL
4.4 R-LC ขนาน ในกรณีที่ BC มีค่าน้อยกว่า BL
ใบงานที่ 5 วงจรการต่อ R-L-C แบบผสม
5.1 วงจรการต่อ R-LC ผสมแบบการต่อขนานก่อนอนุกรม
5.2 วงจรการต่อ R-LC ผสมแบบการต่ออนุกรมก่อนขนาน
ใบงานที่ 6 วงจรรีโซแนนซ์แบบอนุกรม
6.1 วงจรรีโซแนนซ์แบบอนุกรม
ใบงานที่ 7 วงจรรีโซแนนซ์แบบขนาน
7.1 วงจรรีโซแนนซ์แบบขนาน
ใบงานที่ 8 กำลังไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
8.1 กำลังไฟฟ้าในวงจรการต่อตัวต้านทานและตัวเหนี่ยวนำ
8.2 กำลังไฟฟ้าในวงจรการต่อตัวต้านทานและตัวเก็บประจุไฟฟ้า
8.3 กำลังไฟฟ้าในวงจรการต่อตัวต้านทาน, ตัวเหนี่ยวนำ และ ตัวเก็บประจุไฟฟ้า
8.4 การกระจายของกำลังไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
ใบงานที่ 9 การแก้ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
9.1 การแก้ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ในระบบไฟฟ้ากระแสสลับ
ใบงานที่ 10 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสสลับด้วยวิธีการของเมชเคอร์เร็นท์
10.1 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสสลับด้วยวิธีการของเมชเคอร์เร็นท์
ใบงานที่ 11 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสสลับด้วยวิธีการของโนดโวลต์เตจ
11.1 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสสลับด้วยวิธีการของโนดโวลต์

Please Login To Download Attachment

Reviews

There are no reviews yet.

Be the first to review “ชุดทดลองวงจรไฟฟ้า(กระแสตรง และ กระแสสลับ)”

Your email address will not be published. Required fields are marked *