Products

ชุดทดลองระบบป้องกันอันตรายในระบบไฟฟ้า

IProtection

1.เป็นชุดสำหรับทดลองการเกิดอันตรายในระบบไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
2.อุปกรณ์มีสัญลักษณ์ตามมาตรฐานแสดงอย่างชัดเจนบนแผงทดลองและมีความปลอดภัยต่อผู้ทดลอง
3.ขั้วเสียบสายและสายต่อวงจรทดลองเป็นแบบ 4mm Safety.
4.มีคู่มือการทดลองและสายต่อวงจรพอเพียงต่อการทดลองทุกหัวข้อ
5.ด้านหน้าแผงอุปกรณ์มีพิมพ์สัญลักษณ์และอักษรกำกับตามามาตรฐานสากลโดยใช้เทคนิคการพิมพ์แบบกัดเซาะร่องลงเพื่อความคงทนถาวรตลอดอายุการใช้งาน

หัวข้อการทดลอง

1.การสัมผัสสายไฟฟ้าโดยตรง
2.สัมผัสโครงเครื่องใช้ไฟฟ้าที่รั่ว
3.การทำงานของ E.L.C.B.
4.การป้องกันกระแสรั่วในระบบไฟฟ้า ซึ่งกระแสรั่วเป็นกระแสตรงแบบพัลส์
5.การป้องกันโดยใช้แรงดันต่ำ
6.การใช้เซอร์กิตเบรกเกอร์ป้องกันกระแสเกินในระบบไฟฟ้า TN-C-S
7.ไฟฟ้ารั่วลงโครงเครื่องใช้ไฟฟ้าไม่เต็มที่ในระบบไฟฟ้า TN-C-S
8.สายนิวทรัลขาดในระบบไฟฟ้า TN-C-S
9.เครื่องใช้ไฟฟ้าเกิด Fault ลงโครงไม่เต็มที่ โดยมี E.L.C.B. ป้องกันในระบบไฟฟ้า TN-C-S
10.ระบบไฟฟ้า TN-C-S มี E.L.C.B ป้องกัน แต่สายนิวทรัลขาด
11.สาย PEN ขาด ในระบบไฟฟ้า TN-C โดยไม่มี E.L.C.B. ป้องกัน
12.จุดต่อสาย PEN หลวมในระบบไฟฟ้า TN-C โดยเครื่องใช้ไฟฟ้ามีสภาพดีปกติ
13.อันตรายจากการสลับสาย Line กับสาย PEN ในระบบไฟฟ้า TN-C
14.ในระบบไฟฟ้าที่มีเซอร์กิตเบรกเกอร์ป้องกันกระแสเกิน เครื่องใช้ไฟฟ้าเกิด Fault ลงโครงเต็มที่และความต้านทานของดินมีค่าตามที่ยอมให้ใช้ได้ (Protective Earthing)
15.ในระบบไฟฟ้ามีเซอร์กิตเบรกเกอร์ป้องกันกระแสเกิน เครื่องใช้ไฟฟ้าเกิด Fault ลงโครงไม่เต็มที่และความต้านทานของดินมีค่าตามที่ยอมให้ใช้ได้ (Protective Earthing)
16.การป้องกันกระแสเกินด้วยเซอร์กิตเบรกเกอร์ ในระบบไฟฟ้า TT โดยไฟฟ้ารั่วลงโครงเครื่องใช้ไฟฟ้าเต็มที่และค่า ความต้านทานของ Protective Earthing ไม่ถูกต้อง
17.การป้องกันกระแสรั่วด้วย E.L.C.B. ในระบบไฟฟ้า TT โดยไฟฟ้ารั่วลงโครงเครื่องใช้ไฟฟ้าเต็มที่และค่าความต้านทาน RA มีค่าสูงสุดยอมให้ใช้ได้
18.การป้องกันกระแสรั่วด้วย E.L.C.B. ในระบบไฟฟ้า TT โดยไฟฟ้ารั่วลงโครงเครื่องใช้ไฟฟ้าไม่เต็มที่และความต้านทาน RA มีค่าตามข้อบังคับ
19.การป้องกันกระแสไฟฟ้ารั่วด้วย E.L.C.B. ซึ่งมี IFN 30 mA ในระบบไฟฟ้า TT โดยคนสัมผัสสายไฟฟ้าโดยตรง
20.สาย Line และ PE เกิดการต่อถึงกันด้านหน้าของ E.L.C.B.
21.ในระบบไฟฟ้า TT ที่มี E.L.C.B. ป้องกันสายนิวทรัลต่อลงดินหลัง E.L.C.B. ซึ่งทำไม่ถูกต้อง
22.เครื่องใช้ไฟฟ้า 1 เครื่องและหลายเครื่องเกิด Fault ลงโครงเต็มที่ในระบบไฟฟ้า TT
23.เครื่องใช้ไฟฟ้าเกิด Fault ลงโครงเต็มที่และในขณะเดียวกันสายไฟเกิด Fault ลงดินด้วยในระบบไฟฟ้า TT ซึ่งมีเซอร์กิตเบรกเกอร์
เป็นตัวป้องกันกระแสเกิน
24.เครื่องไฟฟ้าเกิด Fault ลงโครงเต็มที่ โดยมีระบบป้องกันด้วยหม้อแปลงแยกขด
25.เครื่องใช้ไฟฟ้าเกิด Faul ลงโครงเต็มที่ และด้านทุติยภูมิของหม้อแปลงแยกขดเกิด Fault ลงดินด้วยโดยมีระบบป้องกันด้วยหม้อแปลงแยกขด
26.พื้นคนยืนเป็นโลหะ และขณะเดียวกันเกิด Fault สองแห่งทางด้านทุติยภูมิ โดยมีระบบป้องกันด้วยหม้อแปลงแยกขด
27.การต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าหลายเครื่องในระบบไฟฟ้า ซึ่งมีการป้องกันด้วยหม้อแปลงแยกขด

Please Login To Download Attachment

Reviews

There are no reviews yet.

Be the first to review “ชุดทดลองระบบป้องกันอันตรายในระบบไฟฟ้า”

Your email address will not be published. Required fields are marked *